ข้อมูลบริษัทรายไตรมาส

รายไตรมาส 3 ปี 2567

quarter3

1. ความเพียงพอของเงินกองทุน

บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) มีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน รวมถึงเพื่อรับมือกับความเสียหายที่มิได้คาดหมายจากการดำเนินธุรกิจโดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุน ให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทได้มีการพิจารณาผลการทดสอบภาวะวิกฤตจากปัจจัยเสี่ยงหลักต่างๆ ประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่าฐานะเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพทางการเงินที่แข็งแกร่งเพียงพอ

เปิดเผย ณ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2567

ทั้งนี้สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณมีรายละเอียด ดังนี้

quarter3

 

หมายเหตุ

- ตามประกาศคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกําหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคํานวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต กําหนดให้นายทะเบียนอาจกําหนดมาตรการที่จําเป็นในการกํากับดูแลบริษัทที่มีอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนต่ำกว่าอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนที่ใช้ในการกำกับ (supervisory CAR) ที่กำหนดไว้ในประกาศฯ ได้

- รายการข้างต้นคำนวณโดยใช้มูลค่าตามประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการประเมินราคาทรัพย์สินและหนี้สินของบริษัทประกันชีวิต และประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการคำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต

- ไตรมาสที่ 2 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 6 เดือน และไตรมาส 3 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 9 เดือน

2. รายงานทางการเงิน

บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ได้จัดทำงบการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยบริษัทเปิดเผยข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 3 ปี 2567 ดังนี้

ข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 3 ปี 2567

รายไตรมาส 2 ปี 2567

ข้อมูลบริษัทรายไตรมาส

 

1. ความเพียงพอของเงินกองทุน

บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) มีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน รวมถึงเพื่อรับมือกับความเสียหายที่มิได้คาดหมายจากการดำเนินธุรกิจโดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุน ให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทได้มีการพิจารณาผลการทดสอบภาวะวิกฤตจากปัจจัยเสี่ยงหลักต่างๆ ประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่าฐานะเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพทางการเงินที่แข็งแกร่งเพียงพอ

เปิดเผย ณ วันที่ 30 สิงหาคม 2567

ทั้งนี้สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณมีรายละเอียด ดังนี้

ข้อมูลรายไตรมาส

 

หมายเหตุ

- ตามประกาศคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกําหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคํานวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต กําหนดให้นายทะเบียนอาจกําหนดมาตรการที่จําเป็นในการกํากับดูแลบริษัทที่มีอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนต่ำกว่าอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนที่ใช้ในการกำกับ (supervisory CAR) ที่กำหนดไว้ในประกาศฯ ได้

-รายการข้างต้นคำนวณโดยใช้มูลค่าตามประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการประเมินราคาทรัพย์สินและหนี้สินของบริษัทประกันชีวิต และประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการคำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต

- ไตรมาสที่ 2 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 6 เดือน และไตรมาส 3 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 9 เดือน

2. รายงานทางการเงิน

บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ได้จัดทำงบการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยบริษัทเปิดเผยข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 2 ปี 2567 ดังนี้

ข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 2 ปี 2567

รายไตรมาส 1 ปี 2567

oceanlife ไทยสมุทร

 

1. ความเพียงพอของเงินกองทุน

บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) มีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน รวมถึงเพื่อรับมือกับความเสียหายที่มิได้คาดหมายจากการดำเนินธุรกิจโดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุน ให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทได้มีการพิจารณาผลการทดสอบภาวะวิกฤตจากปัจจัยเสี่ยงหลักต่างๆ ประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่าฐานะเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพทางการเงินที่แข็งแกร่งเพียงพอ

เปิดเผย ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2567

ทั้งนี้สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณมีรายละเอียด ดังนี้

oceanlife ไทยสมุทร

หมายเหตุ

- ตามประกาศคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกําหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคํานวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต กําหนดให้นายทะเบียนอาจกําหนดมาตรการที่จําเป็นในการกํากับดูแลบริษัทที่มีอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนต่ำกว่าอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนที่ใช้ในการกำกับ (supervisory CAR) ที่กำหนดไว้ในประกาศฯ ได้

- รายการข้างต้นคำนวณโดยใช้มูลค่าตามประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการประเมินราคาทรัพย์สินและหนี้สินของบริษัทประกันชีวิต และประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการคำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต

- ไตรมาสที่ 2 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 6 เดือน และไตรมาส 3 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 9 เดือน

2. รายงานทางการเงิน

บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ได้จัดทำงบการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
โดยบริษัทเปิดเผยข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 1 ปี 2567 ดังนี้

ข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 1 ปี 2567

รายไตรมาส 3 ปี 2566

ข้อมูลรายไตรมาส

1. ความเพียงพอของเงินกองทุน

บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) มีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน รวมถึงเพื่อรับมือกับความเสียหายที่มิได้คาดหมายจากการดำเนินธุรกิจโดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุน ให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทได้มีการพิจารณาผลการทดสอบภาวะวิกฤตจากปัจจัยเสี่ยงหลักต่างๆ ประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่าฐานะเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพทางการเงินที่แข็งแกร่งเพียงพอ

เปิดเผย ณ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2566

ทั้งนี้สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณมีรายละเอียด ดังนี้

ข้อมูลรายไตรมาส

หมายเหตุ
- ตามประกาศคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกําหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคํานวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต กําหนดให้นายทะเบียนอาจกําหนดมาตรการที่จําเป็นในการกํากับดูแลบริษัทที่มีอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนต่ำกว่าอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนที่ใช้ในการกำกับ (supervisory CAR) ที่กำหนดไว้ในประกาศฯ ได้

- รายการข้างต้นคำนวณโดยใช้มูลค่าตามประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการประเมินราคาทรัพย์สินและหนี้สินของบริษัทประกันชีวิต และประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการคำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต

- ไตรมาสที่ 2 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 6 เดือน และไตรมาส 3 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 9 เดือน

2. รายงานทางการเงิน

บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ได้จัดทำงบการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยบริษัทเปิดเผยข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 3 ปี 2566 ดังนี้

ข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 3 ปี 2566

รายไตรมาส 2 ปี 2566

Quarter 2 / 2023

 

1. ความเพียงพอของเงินกองทุน

            บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) มีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน รวมถึงเพื่อรับมือกับความเสียหายที่มิได้คาดหมายจากการดำเนินธุรกิจโดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุน ให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทได้มีการพิจารณาผลการทดสอบภาวะวิกฤตจากปัจจัยเสี่ยงหลักต่างๆ ประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่าฐานะเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพทางการเงินที่แข็งแกร่งเพียงพอ

เปิดเผย ณ วันที่ 29 สิงหาคม 2566

ทั้งนี้สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณมีรายละเอียด ดังนี้

oceanlife-Q2

หมายเหตุ
- ตามประกาศคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกําหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคํานวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต กําหนดให้นายทะเบียนอาจกําหนดมาตรการที่จําเป็นในการกํากับดูแลบริษัทที่มีอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนต่ำกว่าอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนที่ใช้ในการกำกับ (supervisory CAR) ที่กำหนดไว้ในประกาศฯ ได้

- รายการข้างต้นคำนวณโดยใช้มูลค่าตามประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการประเมินราคาทรัพย์สินและหนี้สินของบริษัทประกันชีวิต และประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการคำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต

- ไตรมาสที่ 2 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 6 เดือน และไตรมาส 3 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 9 เดือน

 

2. รายงานทางการเงิน

บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ได้จัดทำงบการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยบริษัทเปิดเผยข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 2 ปี 2566 ดังนี้

ข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 2 ปี 2566

รายไตรมาส 1 ปี 2566

1. ความเพียงพอของเงินกองทุน

            บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) มีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน รวมถึงเพื่อรับมือกับความเสียหายที่มิได้คาดหมายจากการดำเนินธุรกิจโดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุน ให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทได้มีการพิจารณาผลการทดสอบภาวะวิกฤตจากปัจจัยเสี่ยงหลักต่างๆ ประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่าฐานะเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพทางการเงินที่แข็งแกร่งเพียงพอ

เปิดเผย ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2566

           ทั้งนี้สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณมีรายละเอียด ดังนี้

หมายเหตุ
- ตามประกาศคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกําหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคํานวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต กําหนดให้นายทะเบียนอาจกําหนดมาตรการที่จําเป็นในการกํากับดูแลบริษัทที่มีอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนต่ำกว่าอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนที่ใช้ในการกำกับ (supervisory CAR) ที่กำหนดไว้ในประกาศฯ ได้

-รายการข้างต้นคำนวณโดยใช้มูลค่าตามประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการประเมินราคาทรัพย์สินและหนี้สินของบริษัทประกันชีวิต และประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการคำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต

- ไตรมาสที่ 2 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 6 เดือน และไตรมาส 3 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 9 เดือน

2. รายงานทางการเงิน

บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ได้จัดทำงบการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยบริษัทเปิดเผยข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 1 ปี 2566 ดังนี้

ข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 1 ปี 2566

รายไตรมาส 3 ปี 2565

 

1. ความเพียงพอของเงินกองทุน

            บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) มีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน รวมถึงเพื่อรับมือกับความเสียหายที่มิได้คาดหมายจากการดำเนินธุรกิจโดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุน ให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทได้มีการพิจารณาผลการทดสอบภาวะวิกฤตจากปัจจัยเสี่ยงหลักต่างๆ ประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่าฐานะเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพทางการเงินที่แข็งแกร่งเพียงพอ

เปิดเผย ณ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2565

ทั้งนี้สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณมีรายละเอียด ดังนี้

หมายเหตุ
- ตามประกาศคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกําหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคํานวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต กําหนดให้นายทะเบียนอาจกําหนดมาตรการที่จําเป็นในการกํากับดูแลบริษัทที่มีอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนต่ำกว่าอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนที่ใช้ในการกำกับ (supervisory CAR) ที่กำหนดไว้ในประกาศฯ ได้

-รายการข้างต้นคำนวณโดยใช้มูลค่าตามประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการประเมินราคาทรัพย์สินและหนี้สินของบริษัทประกันชีวิต และประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการคำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต

- ไตรมาสที่ 2 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 6 เดือน และไตรมาส 3 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 9 เดือน

2. รายงานทางการเงิน

           บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ได้จัดทำงบการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยบริษัทเปิดเผยข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 3 ปี 2565 ดังนี้

ข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 3 ปี 2565

รายไตรมาส 2 ปี 2565

1. ความเพียงพอของเงินกองทุน

            บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) มีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน รวมถึงเพื่อรับมือกับความเสียหายที่มิได้คาดหมายจากการดำเนินธุรกิจโดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุน ให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทได้มีการพิจารณาผลการทดสอบภาวะวิกฤตจากปัจจัยเสี่ยงหลักต่างๆ ประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่าฐานะเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพทางการเงินที่แข็งแกร่งเพียงพอ

เปิดเผย ณ วันที่ 29 สิงหาคม 2565

ทั้งนี้สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณมีรายละเอียด ดังนี้

หมายเหตุ
- ตามประกาศคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกําหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคํานวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต กําหนดให้นายทะเบียนอาจกําหนดมาตรการที่จําเป็นในการกํากับดูแลบริษัทที่มีอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนต่ำกว่าอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนที่ใช้ในการกำกับ (supervisory CAR) ที่กำหนดไว้ในประกาศฯ ได้

- รายการข้างต้นคำนวณโดยใช้มูลค่าตามประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการประเมินราคาทรัพย์สินและหนี้สินของบริษัทประกันชีวิต และประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการคำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต

- ไตรมาสที่ 2 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 6 เดือน และไตรมาส 3 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 9 เดือน

2. รายงานทางการเงิน

บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ได้จัดทำงบการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยบริษัทเปิดเผยข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 2 ปี 2565 ดังนี้

ข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 2 ปี 2565

รายไตรมาส 1 ปี 2565

 

1. ความเพียงพอของเงินกองทุน

            บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) มีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน รวมถึงเพื่อรับมือกับความเสียหายที่มิได้คาดหมายจากการดำเนินธุรกิจโดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุน ให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทได้มีการพิจารณาผลการทดสอบภาวะวิกฤตจากปัจจัยเสี่ยงหลักต่างๆ ประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่าฐานะเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพทางการเงินที่แข็งแกร่งเพียงพอ

เปิดเผย ณ วันที่ 29 พฤษภาคม 2565

ทั้งนี้สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณมีรายละเอียด ดังนี้

หมายเหตุ - ตามประกาศคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกําหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคํานวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต กําหนดให้นายทะเบียนอาจกําหนดมาตรการที่จําเป็นในการกํากับดูแลบริษัทที่มีอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนต่ำกว่าอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนที่ใช้ในการกำกับ (supervisory CAR) ที่กำหนดไว้ในประกาศฯ ได้
- รายการข้างต้นคำนวณโดยใช้มูลค่าตามประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการประเมินราคาทรัพย์สินและหนี้สินของบริษัทประกันชีวิต และประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการคำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต
- ไตรมาสที่ 2 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 6 เดือน และไตรมาส 3 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 9 เดือน

2. รายงานทางการเงิน

           บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ได้จัดทำงบการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยบริษัทเปิดเผยข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 1 ปี 2565 ดังนี้

ข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 1 ปี 2565

รายไตรมาส 3 ปี 2564

1. ความเพียงพอของเงินกองทุน

            บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) มีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน รวมถึงเพื่อรับมือกับความเสียหายที่มิได้คาดหมายจากการดำเนินธุรกิจโดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุน ให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทได้มีการพิจารณาผลการทดสอบภาวะวิกฤตจากปัจจัยเสี่ยงหลักต่างๆ ประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่าฐานะเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพทางการเงินที่แข็งแกร่งเพียงพอ

เปิดเผย ณ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2564

หมายเหตุ - ตามประกาศคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกําหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคํานวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต กําหนดให้นายทะเบียนอาจกําหนดมาตรการที่จําเป็นในการกํากับดูแลบริษัทที่มีอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนต่ำกว่าอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนที่ใช้ในการกำกับ (supervisory CAR) ที่กำหนดไว้ในประกาศฯ ได้
- รายการข้างต้นคำนวณโดยใช้มูลค่าตามประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการประเมินราคาทรัพย์สินและหนี้สินของบริษัทประกันชีวิต และประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการคำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต
- ไตรมาสที่ 2 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 6 เดือน และไตรมาส 3 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 9 เดือน

2. รายงานทางการเงิน

บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ได้จัดทำงบการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยบริษัทเปิดเผยข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 3 ปี 2564

ข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 3 ปี 2564

รายไตรมาส 2 ปี 2564

1.  ความเพียงพอของเงินกองทุน

            บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) มีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอ ต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน รวมถึงเพื่อรับมือกับความเสียหายที่มิได้คาดหมายจากการดำเนินธุรกิจโดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุน ให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทได้มีการพิจารณาผลการทดสอบภาวะวิกฤตจากปัจจัยเสี่ยงหลักต่างๆ ประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่าฐานะเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพทางการเงินที่แข็งแกร่งเพียงพอ

​เปิดเผย ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2564

    ​ทั้งนี้สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณมีรายละเอียด ดังนี้

  หมายเหตุ - ตามประกาศคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกําหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคํานวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต กําหนดให้นายทะเบียนอาจกําหนดมาตรการที่จําเป็นในการกํากับดูแลบริษัทที่มีอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนต่ำกว่าอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนที่ใช้ในการกำกับ (supervisory CAR) ที่กำหนดไว้ในประกาศฯ ได้
-รายการข้างต้นคำนวณโดยใช้มูลค่าตามประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการประเมินราคาทรัพย์สินและหนี้สินของบริษัทประกันชีวิต และประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการคำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต
- ไตรมาสที่ 2 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 6 เดือน และไตรมาส 3 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 9 เดือน

2.  รายงานทางการเงิน

           บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด(มหาชน)ได้จัดทำงบการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยบริษัทเปิดเผยข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 2 ปี 2564

ข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 2 ปี 2564

รายไตรมาส 1 ปี 2564

1.  ความเพียงพอของเงินกองทุน

            บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) มีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอ ต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน รวมถึงเพื่อรับมือกับความเสียหายที่มิได้คาดหมายจากการดำเนินธุรกิจโดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุน ให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทได้มีการพิจารณาผลการทดสอบภาวะวิกฤตจากปัจจัยเสี่ยงหลักต่างๆ ประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่าฐานะเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพทางการเงินที่แข็งแกร่งเพียงพอ

​เปิดเผย ณ วันที่ 29 พฤษภาคม 2564

    ​ทั้งนี้สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณมีรายละเอียด ดังนี้

  หมายเหตุ - ตามประกาศคณะกรรมการกํากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกําหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคํานวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต กําหนดให้นายทะเบียนอาจกําหนดมาตรการที่จําเป็นในการกํากับดูแลบริษัทที่มีอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนต่ำกว่าอัตราส่วนความเพียงพอของเงินกองทุนที่ใช้ในการกำกับ (supervisory CAR) ที่กำหนดไว้ในประกาศฯ ได้ -รายการข้างต้นคำนวณโดยใช้มูลค่าตามประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการประเมินราคาทรัพย์สินและหนี้สินของบริษัทประกันชีวิต และประกาศคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยว่าด้วยการกำหนดประเภทและชนิดของเงินกองทุน รวมทั้งหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการคำนวณเงินกองทุนของบริษัทประกันชีวิต - ไตรมาสที่ 2 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 6 เดือน และไตรมาส 3 หมายถึงผลการดำเนินงานสะสม 9 เดือน

2.  รายงานทางการเงิน

           บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ได้จัดทำงบการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยบริษัทเปิดเผยข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 1 ปี 2564 

ข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 1 ปี 2564 

รายไตรมาส 3 ปี 2563

1.  ความเพียงพอของเงินกองทุนบริษัท

            บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) มีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอ ต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน รวมถึงเพื่อรับมือกับความเสียหายที่มิได้คาดหมายจากการดำเนินธุรกิจโดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุน ให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทได้มีการพิจารณาผลการทดสอบภาวะวิกฤตจากปัจจัยเสี่ยงหลักต่างๆ ประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่าฐานะเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพทางการเงินที่แข็งแกร่งเพียงพอ

​เปิดเผย ณ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2563

2.  งบการเงิน และหมายเหตุประกอบงบการเงินสําหรับรอบปีปฏิทินที่ล่วงมาที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและแสดงความเห็นแล้ว

           บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ได้จัดทำงบการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยบริษัทเปิดเผยข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 3 ปี 2563

ข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 3 ปี 2563

รายไตรมาส 2 ปี 2563

1.  ความเพียงพอของเงินกองทุนบริษัท

            บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) มีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอ ต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน รวมถึงเพื่อรับมือกับความเสียหายที่มิได้คาดหมายจากการดำเนินธุรกิจโดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุน ให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทได้มีการพิจารณาผลการทดสอบภาวะวิกฤตจากปัจจัยเสี่ยงหลักต่างๆ ประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่าฐานะเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพทางการเงินที่แข็งแกร่งเพียงพอ

​เปิดเผย ณ วันที่ 29 สิงหาคม 2563

2.  งบการเงิน และหมายเหตุประกอบงบการเงินสําหรับรอบปีปฏิทินที่ล่วงมาที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและแสดงความเห็นแล้ว

           บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ได้จัดทำงบการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยบริษัทเปิดเผยข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 2 ปี 2563

มูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 2 ปี 2563

รายไตรมาส 1 ปี 2563

1.  ความเพียงพอของเงินกองทุนบริษัท

            บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) มีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอ ต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน รวมถึงเพื่อรับมือกับความเสียหายที่มิได้คาดหมายจากการดำเนินธุรกิจโดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุน ให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทได้มีการพิจารณาผลการทดสอบภาวะวิกฤตจากปัจจัยเสี่ยงหลักต่างๆ ประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่าฐานะเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพทางการเงินที่แข็งแกร่งเพียงพอ

​เปิดเผย ณ วันที่ 29 พฤษภาคม 2563

2.  งบการเงิน และหมายเหตุประกอบงบการเงินสําหรับรอบปีปฏิทินที่ล่วงมาที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและแสดงความเห็นแล้ว

           บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ได้จัดทำงบการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยบริษัทเปิดเผยข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 1 ปี 2563

มูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 1 ปี 2563

รายไตรมาส 3 ปี 2562

1.  ความเพียงพอของเงินกองทุนบริษัท

            บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) มีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน รวมถึงเพื่อรับมือกับความเสียหายที่มิได้คาดหมายจากการดำเนินธุรกิจโดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุน ให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทได้มีการพิจารณาผลการทดสอบภาวะวิกฤตจากปัจจัยเสี่ยงหลักต่างๆ ประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่าฐานะเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพทางการเงินที่แข็งแกร่งเพียงพอ

​เปิดเผย ณ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2562

2.  งบการเงิน และหมายเหตุประกอบงบการเงินสําหรับรอบปีปฏิทินที่ล่วงมาที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและแสดงความเห็นแล้ว

           บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ได้จัดทำงบการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยบริษัทเปิดเผยข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 3 ปี 2562

ข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 3 ปี 2562

รายไตรมาส 2 ปี 2562

1.  ความเพียงพอของเงินกองทุนบริษัท

            บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) มีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน รวมถึงเพื่อรับมือกับความเสียหายที่มิได้คาดหมายจากการดำเนินธุรกิจโดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุน ให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทได้มีการพิจารณาผลการทดสอบภาวะวิกฤตจากปัจจัยเสี่ยงหลักต่างๆ ประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่าฐานะเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพทางการเงินที่แข็งแกร่งเพียงพอ

​เปิดเผย ณ วันที่ 29 สิงหาคม 2562

2.  งบการเงิน และหมายเหตุประกอบงบการเงินสําหรับรอบปีปฏิทินที่ล่วงมาที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและแสดงความเห็นแล้ว

           บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ได้จัดทำงบการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยบริษัทเปิดเผยข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 2 ปี 2562

ข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 2 ปี 2562

รายไตรมาส 1 ปี 2562

1.  ความเพียงพอของเงินกองทุนบริษัท

            บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) มีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน รวมถึงเพื่อรับมือกับความเสียหายที่มิได้คาดหมายจากการดำเนินธุรกิจโดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุน ให้อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้บริษัทได้มีการพิจารณาผลการทดสอบภาวะวิกฤตจากปัจจัยเสี่ยงหลักต่างๆ ประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อให้มั่นใจว่าฐานะเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับที่มีเสถียรภาพทางการเงินที่แข็งแกร่งเพียงพอ

​เปิดเผย ณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2562

2.  งบการเงิน และหมายเหตุประกอบงบการเงินสําหรับรอบปีปฏิทินที่ล่วงมาที่ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและแสดงความเห็นแล้ว

           บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) ได้จัดทำงบการเงินที่เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี และมาตรฐานการรายงานทางการเงิน โดยบริษัทเปิดเผยข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 1 ปี 2562

ข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 1 ปี 2562

รายไตรมาส 3 ปี 2561

1.  ความเพียงพอของเงินกองทุนบริษัท

      บริษัทมีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน โดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุนที่อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้ยังมีการประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเป็นประจํา

​เปิดเผย ณ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2561

2.  รายงานทางการเงิน

      บริษัทจัดทํางบการเงินเป็นไปตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชีว่าด้วยมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน โดยงบการเงินไตรมาส 3 ปี 2561

ข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 3 ปี 2561

รายไตรมาส 1 - 2 ปี 2561

1.  ความเพียงพอของเงินกองทุนบริษัท

      บริษัทมีการบริหารจัดการเงินกองทุนให้เพียงพอต่อการจ่ายผลประโยชน์ตามเงื่อนไขกรมธรรม์ให้กับผู้เอาประกัน โดยพิจารณาสินทรัพย์ทางการเงินที่จะลงทุนที่อยู่ในระดับความเสี่ยงที่เหมาะสมและมีความสอดคล้องกับผลิตภัณฑ์ของบริษัท นอกจากนี้ยังมีการประเมินและติดตามความเพียงพอของเงินกองทุนอยู่เสมอและมีการรายงานต่อคณะกรรมการบริษัทเป็นประจํา

​เปิดเผย ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2561

 

2.  รายงานทางการเงิน

      บริษัทจัดทํางบการเงินเป็นไปตามประกาศสภาวิชาชีพบัญชีว่าด้วยมาตรฐานการบัญชีและมาตรฐาน การรายงานทางการเงิน โดยงบการเงินไตรมาส 1 ปี 2561

ข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 1 ปี 2561 และ ข้อมูลงบการเงินสำหรับไตรมาส 2 ปี 2561

บอกข้อมูลสั้นๆ เกี่ยวกับตัวคุณ
เพื่อค้นหาผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสม

ฉันต้องการค้นหาเกี่ยวกับ